Sunday, May 12, 2019

ปริศนาคำทายป.3

ปริศนาคำทาย
๑.ความหมายของปริศนาคำทาย
                     ปริศนาคำทาย หมายถึง ปัญหาหรือคำถามซึ่งผู้ถามอาจจะถามตรง ๆ หรือถามทางอ้อมก็ตาม คำถามอาจจะใช้ถ้อยคำธรรมดาเป็นภาษาร้อยแก้ว หรือจะมีสัมผัสแบบภาษาร้อยกรองก็ได้ ภาษาที่ใช้นั้นเป็นภาษาสั้น ๆ ง่าย ๆ กระชับความ แต่ยากแก่การตีความในตัวปริศนาอยู่บ้าง ส่วนคำตอบ  มักจะเป็นสิ่งที่พบเห็นในชีวิตประจำวันในสมัยนั้น ๆ และในบางคำถามมักจะมีเค้าหรือแนวทางสำหรับคำตอบ ซึ่งผู้ตอบจะต้องใช้ความสังเกต ความคิดและไหวพริบในการคิดหาคำตอบ
๒. ที่มาของปริศนาคำทาย
             ปริศนาคำทาย เกิดจากความต้องการลองภูมิปัญญากัน จึงมีการทายปริศนา ในสมัยก่อนนิยมเล่นกันทั้งเด็กและผู้ใหญ่ มักจะเล่นกันในยามว่างจากการทำงาน
๓. ลักษณะของปริศนาคำทาย
๓.๑  นิยมใช้คำคล้องจองกันโดยไม่กำหนดจำนวนคำในแต่ละวรรค เป็นข้อความสั้น ๆ กะทัดรัดหรืออาจผูกเป็นปริศนากลอน ซึ่งบ่งบอกถึงความเป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอนทำให้จำได้ง่าย
๓.๒ เนื้อหานั้นมักจะนำมาจากสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเรา เช่น ของใช้ คน สัตว์ ผัก พืช เวลา สถานที่ เครื่องใช้ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เชาว์ปัญญา ฯลฯ ซึ่งผู้ผูกปริศนาจะต้องเป็นคนช่างสังเกต แล้วนำเอาสิ่งที่สังเกตเห็นมาผูกปริศนาให้ผู้อื่นใช้ปัญญาเพื่อแก้หรือทาย
๓.๓  จำนวนข้อความคำถามจะมีความสั้นยาวไม่เท่ากัน คือ อาจจะมีเพียงตอนเดียว สองตอน สามตอน หรือมากกว่านี้ แต่ข้อความทุกตอนจะเป็นการบอกคำตอบอยู่ในตัวเป็นนัยๆ ซึ่งเมื่อนำคำตอบมารวมกันจะเป็นลักษณะของสิ่งที่ทายนั่นเอง
๓.๔  ไม่นิยมถามตรง ๆ แต่จะใช้สิ่งเปรียบเทียบ
๓.๕  มีการท้าทายให้ผู้ไขปริศนาพยายามคิด
๔. ประเภทของปริศนาคำทาย
๔.๑ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น
อะไรเอ่ยเขียวชอุ่มพุ่มไสวไม่มีใบมีแต่เม็ด=ฝน
๔.๒ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับพืช เช่น อะไรเอ่ยต้นเท่าครกใบปรกดิน= ตะไคร้
๔.๓ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับสัตว์ อะไรเอ่ย สี่เท้าเดินมาหลังคามุงสังกะสี = เต่า
๔.๔ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับอาชีพ
อะไรเอ่ย ข้างโน้นก็เขาข้างนี้ก็เขาเรือสำเภาแล่นตรงกลาง = กี่ทอผ้า
๔.๕ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับอวัยวะ อะไรเอ่ยไม่ใกล้ไม่ไกลมองเห็นรำไร = จมูก
๔.๖ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับศาสนา-ประเพณี อะไรเอ่ย หัวเป็นหนามถามไม่พูด = พระพุทธรูป
๔.๗ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับวรรณกรรม พระรามชอบสีอะไร = สีดา
๔.๘ปริศนาคำทายเกี่ยวกับเชาว์ปัญญา อะไรอยู่บนฟ้า = วรรณยุกต์โท
๕. วิธีการเล่นปริศนาคำทาย
                 บรรดาสมาชิกในครอบครัวหรืออาจจะมีเพื่อนบ้านใกล้เรือนเคียงมาร่วมด้วยก็ได้ จะนั่งล้อมวงกันหรือนั่งตามสบาย ผู้ทายจะผลัดกันทายแล้วแต่ใครจะคิดปัญหาได้ ถ้ามีผู้ตอบถูกผู้ตอบมีสิทธิลงโทษผู้ทายตามแต่จะตกลงกัน และเช่นเดียวกันหากผู้ตอบตอบผิด ผู้ทายก็มีสิทธิลงโทษผู้ตอบ เมื่อปฏิบัติตามกฎ ก็เริ่มต้นทายปริศนาใหม่ต่อไป
๖. ประโยชน์ที่ได้รับ           
  1. ผู้เล่นได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ขบขัน เป็นการพัฒนาจิตใจให้แจ่มใส
  2. ฝึกให้ผู้เล่นเป็นผู้มีนิสัยช่างสังเกต ช่างคิด ฉลาดเฉลียวในการฝึกปัญญาของผู้เล่น
  3. ผู้เล่นจะได้รับความรู้ด้านต่าง ๆ เช่น สำนวนภาษา สังคมวิทยา และธรรมชาติวิทยา
  4. เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
  5. เป็นการสร้างความสามัคคีสร้างมนุษยสัมพันธ์ในหมู่ผู้เล่นอีกด้วย
  6. เป็นการพัฒนาการใช้ภาษา
  7. เป็นการฝึกให้มีไหวพริบ เชาวน์ ปัญญาดี
ตัวอย่างของปริศนาคำทายแยกเป็นประเภท ดังนี้
1.ปริศนาเกี่ยวกับบุคคล

ปริศนาคำทาย ๑.ความหมายของปริศนาคำทาย ปริศนาคำทาย หมายถึง ปัญหาหรือคำถามซึ่งผู้ถามอาจจะถามตรง ๆ หรือถามทางอ้อมก็ตาม คำถามอาจจะใช้ถ้อยคำธรรมดาเป็นภาษาร้อยแก้ว หรือจะมีสัมผัสแบบภาษาร้อยกรองก็ได้ ภาษาที่ใช้นั้นเป็นภาษาสั้น ๆ ง่าย ๆ กระชับความ แต่ยากแก่การตีความในตัวปริศนาอยู่บ้าง ส่วนคำตอบ มักจะเป็นสิ่งที่พบเห็นในชีวิตประจำวันในสมัยนั้น ๆ และในบางคำถามมักจะมีเค้าหรือแนวทางสำหรับคำตอบ ซึ่งผู้ตอบจะต้องใช้ความสังเกต ความคิดและไหวพริบในการคิดหาคำตอบ ๒. ที่มาของปริศนาคำทาย ปริศนาคำทาย เกิดจากความต้องการลองภูมิปัญญากัน จึงมีการทายปริศนา ในสมัยก่อนนิยมเล่นกันทั้งเด็กและผู้ใหญ่ มักจะเล่นกันในยามว่างจากการทำงาน ๓. ลักษณะของปริศนาคำทาย ๓.๑ นิยมใช้คำคล้องจองกันโดยไม่กำหนดจำนวนคำในแต่ละวรรค เป็นข้อความสั้น ๆ กะทัดรัดหรืออาจผูกเป็นปริศนากลอน ซึ่งบ่งบอกถึงความเป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอนทำให้จำได้ง่าย ๓.๒ เนื้อหานั้นมักจะนำมาจากสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเรา เช่น ของใช้ คน สัตว์ ผัก พืช เวลา สถานที่ เครื่องใช้ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เชาว์ปัญญา ฯลฯ ซึ่งผู้ผูกปริศนาจะต้องเป็นคนช่างสังเกต แล้วนำเอาสิ่งที่สังเกตเห็นมาผูกปริศนาให้ผู้อื่นใช้ปัญญาเพื่อแก้หรือทาย ๓.๓ จำนวนข้อความคำถามจะมีความสั้นยาวไม่เท่ากัน คือ อาจจะมีเพียงตอนเดียว สองตอน สามตอน หรือมากกว่านี้ แต่ข้อความทุกตอนจะเป็นการบอกคำตอบอยู่ในตัวเป็นนัยๆ ซึ่งเมื่อนำคำตอบมารวมกันจะเป็นลักษณะของสิ่งที่ทายนั่นเอง ๓.๔ ไม่นิยมถามตรง ๆ แต่จะใช้สิ่งเปรียบเทียบ ๓.๕ มีการท้าทายให้ผู้ไขปริศนาพยายามคิด ๔. ประเภทของปริศนาคำทาย ๔.๑ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น อะไรเอ่ยเขียวชอุ่มพุ่มไสวไม่มีใบมีแต่เม็ด=ฝน ๔.๒ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับพืช เช่น อะไรเอ่ยต้นเท่าครกใบปรกดิน= ตะไคร้ ๔.๓ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับสัตว์ อะไรเอ่ย สี่เท้าเดินมาหลังคามุงสังกะสี = เต่า ๔.๔ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับอาชีพ อะไรเอ่ย ข้างโน้นก็เขาข้างนี้ก็เขาเรือสำเภาแล่นตรงกลาง = กี่ทอผ้า ๔.๕ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับอวัยวะ อะไรเอ่ยไม่ใกล้ไม่ไกลมองเห็นรำไร = จมูก ๔.๖ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับศาสนา-ประเพณี อะไรเอ่ย หัวเป็นหนามถามไม่พูด = พระพุทธรูป ๔.๗ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับวรรณกรรม พระรามชอบสีอะไร = สีดา ๔.๘ปริศนาคำทายเกี่ยวกับเชาว์ปัญญา อะไรอยู่บนฟ้า = วรรณยุกต์โท ๕. วิธีการเล่นปริศนาคำทาย บรรดาสมาชิกในครอบครัวหรืออาจจะมีเพื่อนบ้านใกล้เรือนเคียงมาร่วมด้วยก็ได้ จะนั่งล้อมวงกันหรือนั่งตามสบาย ผู้ทายจะผลัดกันทายแล้วแต่ใครจะคิดปัญหาได้ ถ้ามีผู้ตอบถูกผู้ตอบมีสิทธิลงโทษผู้ทายตามแต่จะตกลงกัน และเช่นเดียวกันหากผู้ตอบตอบผิด ผู้ทายก็มีสิทธิลงโทษผู้ตอบ เมื่อปฏิบัติตามกฎ ก็เริ่มต้นทายปริศนาใหม่ต่อไป ๖. ประโยชน์ที่ได้รับ ผู้เล่นได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ขบขัน เป็นการพัฒนาจิตใจให้แจ่มใส ฝึกให้ผู้เล่นเป็นผู้มีนิสัยช่างสังเกต ช่างคิด ฉลาดเฉลียวในการฝึกปัญญาของผู้เล่น ผู้เล่นจะได้รับความรู้ด้านต่าง ๆ เช่น สำนวนภาษา สังคมวิทยา และธรรมชาติวิทยา เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เป็นการสร้างความสามัคคีสร้างมนุษยสัมพันธ์ในหมู่ผู้เล่นอีกด้วย เป็นการพัฒนาการใช้ภาษา เป็นการฝึกให้มีไหวพริบ เชาวน์ ปัญญาดี ตัวอย่างของปริศนาคำทายแยกเป็นประเภท ดังนี้ 1.ปริศนาเกี่ยวกับบุคคล ปริศนาคำทาย เฉลย ใครหือชื่อตกแล้ว ไม่หล่น คิดวัตถุชอบกล แปลกไซร้ ของนี้แหละให้ผล พิลึก ช่วยการเป็นไทได้ แต่เบื้องโบราณ พระร่วง ทรงคิดกะละออม หรือครุ ขึ้นมาใส่น้ำส่งส่วยไปยังเมืองขอม ใครเอ่ยแต่เด็กกล้า รบแรง พ่อออกนามว่าแขง เศิกไซร้ เป็นขุนจึ่งจัดแจง จาฤกประวัติของตนไว้ คู่ด้าวแดนตน พ่อขุนรามคำแหงมหาราช อะไรเอ่ย สามขาเดินมาหลังคามุงสำลี คนแก่ถือไม้เท้า อะไรเอ่ย หัวเป็นหนามถามไม่พูด พระพุทธรูป
ปริศนาคำทาย ๑.ความหมายของปริศนาคำทาย ปริศนาคำทาย หมายถึง ปัญหาหรือคำถามซึ่งผู้ถามอาจจะถามตรง ๆ หรือถามทางอ้อมก็ตาม คำถามอาจจะใช้ถ้อยคำธรรมดาเป็นภาษาร้อยแก้ว หรือจะมีสัมผัสแบบภาษาร้อยกรองก็ได้ ภาษาที่ใช้นั้นเป็นภาษาสั้น ๆ ง่าย ๆ กระชับความ แต่ยากแก่การตีความในตัวปริศนาอยู่บ้าง ส่วนคำตอบ มักจะเป็นสิ่งที่พบเห็นในชีวิตประจำวันในสมัยนั้น ๆ และในบางคำถามมักจะมีเค้าหรือแนวทางสำหรับคำตอบ ซึ่งผู้ตอบจะต้องใช้ความสังเกต ความคิดและไหวพริบในการคิดหาคำตอบ ๒. ที่มาของปริศนาคำทาย ปริศนาคำทาย เกิดจากความต้องการลองภูมิปัญญากัน จึงมีการทายปริศนา ในสมัยก่อนนิยมเล่นกันทั้งเด็กและผู้ใหญ่ มักจะเล่นกันในยามว่างจากการทำงาน ๓. ลักษณะของปริศนาคำทาย ๓.๑ นิยมใช้คำคล้องจองกันโดยไม่กำหนดจำนวนคำในแต่ละวรรค เป็นข้อความสั้น ๆ กะทัดรัดหรืออาจผูกเป็นปริศนากลอน ซึ่งบ่งบอกถึงความเป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอนทำให้จำได้ง่าย ๓.๒ เนื้อหานั้นมักจะนำมาจากสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเรา เช่น ของใช้ คน สัตว์ ผัก พืช เวลา สถานที่ เครื่องใช้ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เชาว์ปัญญา ฯลฯ ซึ่งผู้ผูกปริศนาจะต้องเป็นคนช่างสังเกต แล้วนำเอาสิ่งที่สังเกตเห็นมาผูกปริศนาให้ผู้อื่นใช้ปัญญาเพื่อแก้หรือทาย ๓.๓ จำนวนข้อความคำถามจะมีความสั้นยาวไม่เท่ากัน คือ อาจจะมีเพียงตอนเดียว สองตอน สามตอน หรือมากกว่านี้ แต่ข้อความทุกตอนจะเป็นการบอกคำตอบอยู่ในตัวเป็นนัยๆ ซึ่งเมื่อนำคำตอบมารวมกันจะเป็นลักษณะของสิ่งที่ทายนั่นเอง ๓.๔ ไม่นิยมถามตรง ๆ แต่จะใช้สิ่งเปรียบเทียบ ๓.๕ มีการท้าทายให้ผู้ไขปริศนาพยายามคิด ๔. ประเภทของปริศนาคำทาย ๔.๑ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น อะไรเอ่ยเขียวชอุ่มพุ่มไสวไม่มีใบมีแต่เม็ด=ฝน ๔.๒ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับพืช เช่น อะไรเอ่ยต้นเท่าครกใบปรกดิน= ตะไคร้ ๔.๓ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับสัตว์ อะไรเอ่ย สี่เท้าเดินมาหลังคามุงสังกะสี = เต่า ๔.๔ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับอาชีพ อะไรเอ่ย ข้างโน้นก็เขาข้างนี้ก็เขาเรือสำเภาแล่นตรงกลาง = กี่ทอผ้า ๔.๕ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับอวัยวะ อะไรเอ่ยไม่ใกล้ไม่ไกลมองเห็นรำไร = จมูก ๔.๖ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับศาสนา-ประเพณี อะไรเอ่ย หัวเป็นหนามถามไม่พูด = พระพุทธรูป ๔.๗ ปริศนาคำทายเกี่ยวกับวรรณกรรม พระรามชอบสีอะไร = สีดา ๔.๘ปริศนาคำทายเกี่ยวกับเชาว์ปัญญา อะไรอยู่บนฟ้า = วรรณยุกต์โท ๕. วิธีการเล่นปริศนาคำทาย บรรดาสมาชิกในครอบครัวหรืออาจจะมีเพื่อนบ้านใกล้เรือนเคียงมาร่วมด้วยก็ได้ จะนั่งล้อมวงกันหรือนั่งตามสบาย ผู้ทายจะผลัดกันทายแล้วแต่ใครจะคิดปัญหาได้ ถ้ามีผู้ตอบถูกผู้ตอบมีสิทธิลงโทษผู้ทายตามแต่จะตกลงกัน และเช่นเดียวกันหากผู้ตอบตอบผิด ผู้ทายก็มีสิทธิลงโทษผู้ตอบ เมื่อปฏิบัติตามกฎ ก็เริ่มต้นทายปริศนาใหม่ต่อไป ๖. ประโยชน์ที่ได้รับ ผู้เล่นได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ขบขัน เป็นการพัฒนาจิตใจให้แจ่มใส ฝึกให้ผู้เล่นเป็นผู้มีนิสัยช่างสังเกต ช่างคิด ฉลาดเฉลียวในการฝึกปัญญาของผู้เล่น ผู้เล่นจะได้รับความรู้ด้านต่าง ๆ เช่น สำนวนภาษา สังคมวิทยา และธรรมชาติวิทยา เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เป็นการสร้างความสามัคคีสร้างมนุษยสัมพันธ์ในหมู่ผู้เล่นอีกด้วย เป็นการพัฒนาการใช้ภาษา เป็นการฝึกให้มีไหวพริบ เชาวน์ ปัญญาดี ตัวอย่างของปริศนาคำทายแยกเป็นประเภท ดังนี้ 1.ปริศนาเกี่ยวกับบุคคล ปริศนาคำทาย เฉลย ใครหือชื่อตกแล้ว ไม่หล่น คิดวัตถุชอบกล แปลกไซร้ ของนี้แหละให้ผล พิลึก ช่วยการเป็นไทได้ แต่เบื้องโบราณ พระร่วง ทรงคิดกะละออม หรือครุ ขึ้นมาใส่น้ำส่งส่วยไปยังเมืองขอม ใครเอ่ยแต่เด็กกล้า รบแรง พ่อออกนามว่าแขง เศิกไซร้ เป็นขุนจึ่งจัดแจง จาฤกประวัติของตนไว้ คู่ด้าวแดนตน พ่อขุนรามคำแหงมหาราช อะไรเอ่ย สามขาเดินมาหลังคามุงสำลี คนแก่ถือไม้เท้า อะไรเอ่ย หัวเป็นหนามถามไม่พูด พระพุทธรูปปริศนาคำทาย
ใครหือชื่อตกแล้ว ไม่หล่น คิดวัตถุชอบกล แปลกไซร้ ของนี้แหละให้ผล พิลึก ช่วยการเป็นไทได้ แต่เบื้องโบราณ
พระร่วง ทรงคิดกะละออม หรือครุ ขึ้นมาใส่น้ำส่งส่วยไปยังเมืองขอม
ใครเอ่ยแต่เด็กกล้า รบแรง พ่อออกนามว่าแขง เศิกไซร้ เป็นขุนจึ่งจัดแจง จาฤกประวัติของตนไว้ คู่ด้าวแดนตน
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
อะไรเอ่ย สามขาเดินมาหลังคามุงสำลี
คนแก่ถือไม้เท้า
อะไรเอ่ย หัวเป็นหนามถามไม่พูด
พระพุทธรูป

No comments:

Post a Comment